น้ำยาวิเคราะห์ในห้องปฎิบัติการ
ได้แก่ การตรวจหาภาวะโลหิตจาง และความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด



สาขาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก (Clinical Microscopy)
ได้แก่ การตรวจปัสสาวะ – อุจจาระ เป็นต้น



สาขาเคมีคลินิก (Clinical Chemistry)
ได้แก่ การตรวจสารต่างๆทางชีวเคมีในเลือด เป็นต้น



สาขาภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก (Clinical Immunology)
ได้แก่ การตรวจหาภูมิคุ้มกัน (Antibody) และ Antigen ต่างๆ ในร่างกาย เป็นต้น



สาขาจุลชีววิทยาคลินิก (Clinical Microbiology)
ได้แก่ การเพาะเชื้อและแยกเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ เพื่อหาสาเหตุของเชื้อก่อโรค พร้อมกับทดสอบความไวของเชื้อจุลินทรีย์ต่อยาปฏิชีวนะ
ได้แก่ การทดสอบ เพื่อเตรียมโลหิตและส่วนประกอบโลหิตที่เหมาะสม และปลอดภัยที่สุดสำหรับผู้ป่วย

เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาชีววิทยาและช่วยให้เรามองเห็นในสิ่งที่เล็กมากๆ อีกด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Microscope) คือ เครื่องมือขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสทางตา ให้เห็นสิ่งที่ไม่สามารถเห็นด้วยตาเปล่า เช่น จุลินทรีย์ เซลล์เม็ดเลือด เป็นต้น
